วันเสาร์ที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2557

วงจรอิมิตเตอร์ร่วม

วงจรอิมิตเตอร์ร่วม

          เป็นวงจรที่มีขาอิมิตเตอร์ (E) เป็นขาร่วมทางอินพุตและเอาท์พุต มีขาอินพุตเข้าทางขาเบส (B) มีขาเอาท์พุตออกทางขาคอลเลกเตอร์ (C) วงจรอิมิตเตอร์ร่วมแบบพื้นฐาน แสดงดังรูป

วงจรอิมิตเตอร์ร่วม ทรานซิสเตอร์ชนิด PNP
          วงจรอิมิตเตอร์ร่วม ทรานซิสเตอร์ชนิด PNP

วงจรอิมิตเตอร์ร่วม ทรานซิสเตอร์ชนิด NPN
          วงจรอิมิตเตอร์ร่วม ทรานซิสเตอร์ชนิด NPN

คุณสมบัติของวงจรอิมิตเตอร์ร่วม มีดังนี้

1. อิมพีแดนซ์อินพุต (Z ) ต่ำ ประมาณ 500?  - 1 k ?
2. อิมพีแดนซ์เอาท์พุต (Z ) สูงประมาณ 50 k? - 100 k ?
3. เฟสสัญญาณทางอินพุตต่างจากเอาท์พุต 180 องศา หรือมีเฟสตรงข้ามกัน (Out of Phase)
4. อัตราขยายกระแส ใช้สัญลักษณ์ เบตา ( β ) มีค่าสูงประมาณ 19 เท่า ถึง 49 เท่า
5. อัตราขยายแรงดัน ( A ) มีค่าสูงประมาณ 250 เท่า ถึง 300 เท่า
6. อัตราขยายกำลัง (P ) มีค่าประมาณ 40 dB
          วงจรอิมิตเตอร์ร่วมเป็นวงจรที่ถูกนำไปใช้งานมากที่สุด เพราะให้อัตราขยายสัญญาณดีทั้งขยายแรงดันและขยายกระแส นิยมนำไปใช้งานเป็นวงจรขยายเสียงวงจรขยายความถี่วิทยุ วงจรขยายความถี่ปานกลาง วงจรขยายภาคแรก และวงจรขยายกำลัง เป็นต้น

การทดลองที่ 1 วงจรอิมิตเตอร์ร่วม

เครื่องเมือและอุปกรณ์
  1. มัลติมิเตอร์                                        3 เครื่อง                                                
  2. แหล่งจ่ายไฟสำหรับทดลอง                 2 เครื่อง
  3. แผงสำหรับทดลอง                             1 ชุด
  4. ตัวต้านทาน 22 k?                          1 ตัว
  5. ตัวต้านทานปรับค่าได้ 10 k?            1 ตัว
  6. ทรานซิสเตอร์เบอร์ BC109B               1 ตัว
วิธีการทดลอง
  1. เตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์  ต่อวงจรตามรูป
  2. ป้อนไฟ  +5 VDC ที่ตัวต้านทาน 22 k? และ ป้อนไฟค่าต่างๆที่กำหนดเข้าที่ ขา C
  3. ต่อมัลติมิเตอร์ตามรูปเพื่อวัดค่ากระแส และแรงดัน
  4. ปรับค่า V  และกระแส I ตามตาราง
  5. บันทึกผลการทดลองลงในตาราง
วงจรทดสอบการทำงานของทรานซิสเตอร์
วงจรทดสอบการทำงานของทรานซิสเตอร์
ผลการทดลอง

I
       I  (mA) for V  = ……………………… (V)
µA
0.5
1
2
5
10
0
0
0
0
0
0
10
0.168
2.5
2.5
1.33
1.54
20
5.027
5.1
4.8
4.7
5.5
30
7.368
7.17
6.5
7.43
8.6
40
10.061
9.7
7.8
10.42
12.42
50
12.615
12.01
9.9
14.3
18.52
ตารางบันทึกผลการทดลองที่ 1

สรุปผลการทดลองที่ 1
                จากการทดลอง เมื่อป้อนแรงดันไฟฟ้ากระแสตรงให้วงจรตามค่าต่างๆที่กำหนดให้ ตัวทรานซิสเตอร์ก็จะนำกระแส จะสังเกตได้ว่า เมื่อเราเพิ่มค่า I กระแส   I  ก็จะเพิ่มด้วย เป็นตามอัตตราขยายกระแสของทรานซิสเตอร์เบอร์ BC109B
ที่มา: http://www.star-circuit.com/article/COMMON-EMITTER/COMMON-EMITTER.html

วันศุกร์ที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2557

ทรานซิสเตอร์ (Transistor)

ทรานซิสเตอร์ (Transistor)

          ทรานซิสเตอร์เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ประเภทแอคทีฟ (Active Device) ชนิดหนึ่งมีหลักการทำงานโดยอาศัยกระแสไฟฟ้าจากวงจรภายนอกไปควบคุมตัวกำเนิดกระแสไฟฟ้าภายในให้เปลี่ยนแปลงตาม ทรานซิสเตอร์มี 3 ขา คือ ขาเบส ขาอิมิตเตอร์และขาคอลเลคเตอร์ การสร้างทรานซิสเตอร์ แบ่งตามโครงสร้างได้ 2 ชนิด คือ NPN และ PNP แบ่งตามสารได้สองชนิดเช่นกันคือเยอรมันเนียม และ ซิลิคอน การจัดแรงไฟไบอัสทรานซิสเตอร์จะจัดให้อยู่สองแบบคือให้ฟอร์เวิร์ดไบอัสระหว่างขาเบสกับขาอิมิตเตอร์ และให้รีเวิร์สไบอัสระหว่างขาเบสกับขาคอลเลคเตอร์ ทรานซิสเตอร์สามารถประยุกต์ใช้งานได้หลายอย่างเช่น ขยายสัญญาณ สวิตซิ่ง กำเนิดสัญญาณ เป็นต้น
Transistor
รูปทรานซิสเตอร์ต่างๆ

ทรานซิสเตอร์ชนิด NPN

          เป็นทรานซิสเตอร์ที่สร้างจากสารกึ่งตัวนำชนิด N ชนิด P และชนิด N มาต่อเรียงกันตามลำดับ แล้วต่อสายออกมา 3 สาย เพื่อเป็นขาต่อกับวงจรสารกึ่งตัวนำชนิด P ซึ่งอยู่ตรงกลางจะเป็นจุดร่วม สารกึ่งตัวนำชนิด N จะทำหน้าที่จ่ายอิเล็กตรอนซึ่งจะไหลเป็นกระแสในวงจรส่วนนี้เราเรียกว่า อิมิตเตอร์ อิเล็กตรอนจะเคลื่อนที่ผ่านสารกึ่งตัวนำชนิด P ซึ่งเราเรียกว่าเบสส่วนเบสนี้จะเป็นตัวคอยควบคุมอิเล็กตรอนให้ไหลไปยังสารกึ่งตัวนำชนิด N ถัดไปได้มากหรือน้อยอิเล็กตรอนส่วนที่ผ่านเบสมาก็จะเคลื่อนที่มายังสารกึ่งตัวนำชนิด N ซึ่งเราเรียกว่า คอลเลคเตอร์ และกลายเป็นกระแสไหลในวงจรภายนอกต่อไป
โครงสร้างและสัญลักษณ์ของทรานซิสเตอร์ชนิด NPNโครงสร้างและสัญลักษณ์ของทรานซิสเตอร์ชนิด NPN

ทรานซิสเตอร์ชนิด PNP

          คือทรานซิสเตอร์ที่สร้างจากสารกึ่งตัวนำชนิดพี ชนิดเอ็น และชนิดพี มาเรียงกันตามลำดับแล้วต่อสายจากแต่ละชิ้นส่วนออกมาเป็น 3 สายเพื่อต่อกับวงจรสารกึ่งตัวนำเอ็นจะเป็นจุดร่วม
โครงสร้างและสัญลักษณ์ของทรานซิสเตอร์ชนิด PNPโครงสร้างและสัญลักษณ์ของทรานซิสเตอร์ชนิด PNP

ขาของทรานซิสเตอร์

1.  ขาคอลเลคเตอร์ (Collector) เรียกย่อๆ ว่าขา C เป็นขาที่มีโครงสร้างในการโด๊ปสารใหญ่ที่สุด
2.   ขาอิมิตเตอร์ (Emitter) เรียกย่อๆ ว่าขา E เป็นขาที่มีโครงสร้างใหญ่รองลงมาและจะอยู่คนละด้านกับขาคอลเลคเตอร์
3.   ขาเบส  (Base) เรียกย่อๆ ว่าขา B เป็นส่วนที่อยู่ตรงกลางระหว่าง C และ E มีพื้นที่ของโครงสร้างแคบที่สุดเมื่อเทียบกับอีก 2 ส่วน เมื่อจำแนกลักษณะการต่อตัวทรานซิสเตอร์จึงคล้ายกับการนำเอาไดโอด       2       ตัวมาต่อกัน


การทดลอง วงจรทดสอบการทำงานของทรานซิสเตอร์

          เครื่องเมือและอุปกรณ์
  1. มิเตอร์                                                  2 เครื่อง                                                
  2. แหล่งจ่ายไฟสำหรับทดลอง                     1 เครื่อง
  3. แผงสำหรับทดลอง                                 1 ชุด
  4. ตัวต้านทาน 1 k?                                1 ตัว
  5. ตัวต้านทานปรับค่าได้ 2.2 k?              1 ตัว
  6. คาปาซิแตอร์ 0.1uF                              1 ตัว
  7. ทรานซิสเตอร์เบอร์ BC109B                  1 ตัว
วิธีการทดลอง
  1. เตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์  ต่อวงจรตามรูป
  2. ป้อนไฟ  -15 VDC และ +5 VDC
  3. ต่อมัลติมิเตอร์ตามรูปเพื่อวัดค่ากระแส และแรงดัน
  4. วัดค่า V  และบันทึกผลลงในตาราง
  5. ปรับ VR แล้วอ่านค่ากระแส I  ให้ได้ค่า 1mA  และบันทึกค่า I  ลงในตาราง
  6. ปรับ VR แล้วอ่านค่ากระแส I  ให้ได้ค่า 10mA  และบันทึกค่า I  ลงในตาราง
  7. บันทึกผลการทดลอง
วงจรทดสอบการทำงานของทรานซิสเตอร์
การทดลองที่ 1 วงจรทดสอบการทำงานของทรานซิสเตอร์
ผลการทดลอง

I   (mA)
V   (V)I  (µA)h  =I  = I +I (mA)h =
Just measurable
0.66
---
---
---
---
1
---
3.7
270.27
1.0037
0.997
10
---
34.5
289.86
10.0345
0.997
สรุปผลการทดลอง
                จากการทดลอง เมื่อป้อนแรงดันไฟฟ้ากระแสตรงให้วงจรตามค่าต่างๆที่กำหนดให้ ตัวทรานซิสเตอร์ก็เริ่มนำกระแส มีแรงดันตกคร่อม V   0.66V  ที่กระแส I  มีค่า 1 mA กระแส  I  จะมีค่า 3.7 µA และที่ กระแส I  มีค่า 10 mA กระแส  I  จะมีค่า 34.5 µA แสดงว่า ถ้า I เพิ่มจะทำให้ I เพิ่มขึ้นตามอัตราขยายของทรานซิสเตอร์เบอร์นี้

ที่มา: http://www.star-circuit.com/article/Transistor/Transistor.html

PLC คืออะไร

PLC คืออะไร?
          Programmable Logic Controller เครื่องควบคุมเชิงตรรกที่สามารถโปรแกรมได้

          PLC : Programmable Logic Controller (มีต้นกำ เนิดจากประเทศสหรัฐอเมริกา) เป็นเครื่องควบคุมอัตโนมัติในโรงงานอุตสาหกรรม
ที่สามารถจะโปรแกรมได้ ถูกสร้างและพัฒนาขึ้นมาเพื่อทดแทนวงจรรีเลย์ อันเนื่องมาจากความต้องการที่อยากจะได้เครื่องควบ คุมที่มีราคาถูกสามารถใช้งานได้อย่างเอนกประสงค์ และสามารถเรียนรู้การใช้งานได้ง่าย
        ข้อแตกต่างระหว่าง PLC กับ COMPUTER1. PLC ถูกออกแบบ และสร้างขึ้นเพื่อให้ทนต่อสภาพแวดล้อมในโรงงานอุตสาหกรรมโดยเฉพาะ
2. การโปรแกรมและการใช้งาน PLC ทำได้ง่ายไม่ยุ่งยากเหมือนคอมพิวเตอร์ทั่วไป PLC มีระบบการตรวจสอบตัวเองตั้งแต่ช่วงติดตั้ง
    จนถึงช่วงการใช้งานทำให้การบำรุงรักษาทำได้ง่าย
3. PLCถูกพัฒนาให้มีความสามารถในการตัดสินใจสูงขึ้นเรื่อยๆทำให้การใช้งานสะดวกขณะที่วิธีใช้คอมพิวเตอร์ยุ่งยากและซับซ้อนขึ้น

http://www.star-circuit.com/article/PLC1.html

วันพฤหัสบดีที่ 26 มิถุนายน พ.ศ. 2557

บริการรับซ่อมบอร์ดอิเล็กทรอนิกส์ ชุดคอนโทรล

http://www.star-circuit.com/Pages/service.html

ศูนย์ซ่อมอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ สำหรับอุตสาหกรรม โดยทีมงานวิศวกรผู้เชียวชาญและชำนาญงานทางด้าน การซ่อมอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ในระบบอุตสาหกรรมต่างๆ ด้วยอุปกรณ์อันทันสมัยที่สุดในปัจจุบัน ที่เป็นสุดยอดเทคโนโลยีการตรวจซ่อม สามารถหาจุดบกพร่องในวงจรอิเล็กทรอนิกส์ ที่มีประสิทธิภาพสูง แม่นยำ และรวดเร็วในการตรวจซ่อม
หากท่านมีปัญหาเกี่ยวกับ เครื่องจักรกล หรืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ในโรงงานอุตสาหกรรมเราซ่อมได้
.........หาก ซ่อมไม่ได้ ไม่คิดเงิน.........
รับซ่อม แผงวงจร อิเลคทรอนิคส์อุตสาหกรรมทุกชนิด
รับซ่อมบอร์ดอิเล็กทรอนิกส์
System rework,Inverter,AC Drives,Switching,Power Supply, UPS,DC Motor Controller Electronics,Eletronics Control Board CNC Lathe, PLC,Robot,,Main board,Dc inverter,Dc to ac inverter,Inverter 3 เฟส,Cnc control,Servo,Dc Servo,Ac Servo,Servo control,Servo robot,Servo cnc,Monitor,Touchscreen,Servopack,servo drive,servo control
ทุกยี่ห้อ เช่น
fanuc, yaskawa, Sanyo denkiomron, Mitsubishi, Toshiba, Panasonic, Hitachi, Siemens, Sumitomo, Sanyo, Lenze, brother, etc, ABB , Fuji Electric, Omron , Danfoss, Adlee Power , Simax , Eric ,SEW Euro Drive , Delta , Freecon , Telemecanigue , Allen-Bradley , Control Technique , Vacon, Delta, Vexta, Movitrac SEW , Wacogiken, Toyoda, Lust,
Fanuc FA , PML , Delta TAU , Dynamics , Bayside , Copley Control , Numatics , Aerotech , Infranor , Sieb & Meyer , Danaher

โดยทางบริษัทจะนำเครื่องเข้ามาตรวจสภาพในเบื้องต้นก่อนว่าเสียหายมากน้อยเพียงใด แล้วทำการเสนอไปยังลูกค้าถ้าลูกค้าเห็นว่าเครื่องของท่านคุ้มค่าและเหมาะสมตกลงใจที่จะซ่อมทางเราจึงจะดำเนินการซ่อมให้ต่อไป
  • เสนอราคาก่อนซ่อม
  • ประเมินงานฟรี
  • บริการซ่อมด่วน
  • เครดิตนาน 1-3 เดือน
  • รับประกัน 3 -12 เดือน
  • ซ่อมไม่ได้ไม่มีค่าใช้จ่าย
  • มีบริการรับส่งชิ้นงานฟรี

วันพุธที่ 25 มิถุนายน พ.ศ. 2557

http://www.star-circuit.com/Pages/Pro-face.html

Pro-face

PRO-FACE-GP570-TC11

Pro-face 2980070-04
Pro-face 2980070-04
Pro-face GP270-SC11-24V
Pro-face 2980070-04-24V
อาการ หน้าจอไม่ติด
อาการ ติดๆดับๆ
ได้ซ่อมใช้งานได้แล้ว
Pro-face 3180053-03 ST401-AG41-24V
Pro-face 3180053-03 ST401-AG41-24V
Pro-face PL-5700T1
Pro-face PL-5700T1